Pervasive Computing

pervasive computing (หรือเรียกว่า ubiquitous computing) เป็นแนวโน้มกำลังเติบโตของการฝังไมโครโพรเซสเซอร์ในวัตถุทุกวันนี้เพื่อให้สิ่งเหล่านี้สามารถสื่อสารได้ คำ pervasive (แพร่กระจายทุกหนทุกแห่ง) และ ubiquitous (อยู่ทั่วไปทุกๆแห่ง) หมายความว่า “existing everywhere” (อยู่ทั่วไปทุกๆแห่ง) อุปกรณ์ pervasive computing ได้รับเชื่อมต่ออย่างสมบูรณ์และมีอยู่อย่างคงที่

pervasive computing ขึ้นกับการครอบคลุมของเทคโนโลยีไร้สาย อิเลคโทรนิคส์ระดับสูง และอินเตอร์เน็ต เป้าหมายการทำงานของนักวิจัยในด้าน pervasive computing คือ การสร้างผลิตภัณฑ์ฉลาดที่สื่อสารอย่างไม่เด่นชัด ผลิตภัณฑ์ได้รับการเชื่อมต่อกับอินเตอร์เน็ตและข้อมูลมีการสร้างขึ้นอย่างง่ายดาย

การรณรงค์ความเป็นส่วนบุคคลมีความกังวลเกี่ยวกับ “บิ๊กบราเทอร์กำลังเฝ้าดูคุณ” ที่มอง pervasive computing แต่จุดยืนในทางปฏิบัติ นักวิจัยส่วนใหญ่รู้ว่ามีการปรับปรุงอย่างมีประสิทธิภาพ ในการพูดปี 1996 Rick Belluzo ผู้เป็นรองประธานบริหารและผู้จัดการทั่วไปของ Hewlett-Packard เปรียบเทียบ pervasive computing กับไฟฟ้า เขาอธิบายว่า สิ่งนี้อยู่ในขั้น “เมื่อเราใช้คอมพิวเตอร์ที่อนุญาต เราจะสังเกตการณ์ไม่มี แทนที่การปรากฏ”

ตัวอย่างการประยุกต์ pervasive computing คือ การแทนที่มิเตอร์ไฟฟ้าเก่าด้วยมิเตอร์สมาร์ท ในอดีต มิเตอร์ไฟฟ้าอย่างอ่านด้วยคนโดยพนักงานบริษัท มิเตอร์สมาร์ทรายงานการใช้ตามเวลาจริงผ่านอินเตอร์เน็ต สิ่งเหล่านี้สามารถเตือนบริษัทไฟฟ้าถึงช่วงไม่ใช้ไฟฟ้า ตั้งตัวตัดอุณหภูมิใหม่ ตามคำสั่งของเจ้าของบ้าน ส่งข่าวสารเพื่อแสดงหน่วยในบ้านและควบคุมฮีตเตอร์

ที่มา http://www.widebase.net/knowledge/itterm/it_term_desc.php?term_id=PervasiveComputing&term_group=P

Unless otherwise stated, the content of this page is licensed under Creative Commons Attribution-ShareAlike 3.0 License